วันจันทร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2556

การใช้ May, Might, Will, Would

May, Might, Will, Would

                    May, Might     1.ใช้กับการพูดถึงการมีโอกาสของบางสิ่งบางทีอาจเป็นจริงหรืออาจจะเกิดขึ้นเช่น - We may take a day off next week. - He might call me tonight

.                   2. Might ไม่ได้เป็นรูปอดีตของ May เราจะใช้ Might เมื่อเรามีโอกาสที่น้อยกว่า May เช่น - I may go to visit my parents in this weekend. (มีโอกาส 50%) - Jane might go with me. (มีโอกาส 0.1 - 49.9%)
               
                   3.การใช้ may/might กับ have ใช้แสดงการคาดคะเนที่อาจจะเกิดขึ้นในอดีต May / Might + have + V.3 (Past Participle) - She may have gone out when I phoned her. (หล่อนอาจจะออกไปแล้วตอนฉันโทรไป) - A: I can’t find my book. (กูหาหนังสือไม่เจอว่ะ) B:You might have left it at school. (ไอ้สัตว์ ลืมไว้ที่โรงเรียนเปล่า)

                   4. ใช้ may might ในการขออนุญาตเช่น - May I sit here? (นั่งตรงนี้ได้มั้ย) - I wonder if I might have another cup of coffee? (จะเป็นไรมั้ยครับ ถ้าจะขอกาแฟเพิ่มอีกแก้ว)

                    5. ใช้ may ในการอนุญาตและไม่อนุญาตเช่น - Children may not play alone in the pool. (ไม่อนุญาตให้เด็กลงสระโดยลำพัง) - A: May I turn the TV on? (กูเปิดทีวีได้มั้ยวะ) B: Yes, of course you may. (เอาสิวะ กูจะดูคนอวดหมี)

                  Will   1.ใช้ Will เมื่อเราพูดถึงอนาคต I will go to school early tomorrow.

                   2.ใช้ Will ในการแสดงการขอร้องอย่างสุภาพเช่น Will you open the door for me please?

                   3. การใช้ Will + Probably จะมีความหมายเดียวกับ May หรือ Might I will probably go to school. (กูอาจจะไปโรงเรียน) Would เป็นอดีตของคำว่า

                  Will 1.ใช้ในประโยคขอร้องที่สุภาพกว่า Will Would you turn the volume down please?

                   2.ใช้กับประโยค Would you mind if…. Would you mind if I smoke?

                   3. ใช้ would กับคำ rather แปลว่า ควรจะ….ดีกว่า ตัวย่อ ‘d rather ใช้ในการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง I’d rather study harder this year than go to summer school.

                   4. ใช้ would กับ like to ในรูปคำถามเป็นการเชื้อเชิญเช่น Would you like to go dancing with me? Since, For, During,

                  While 1. เราใช้ During (ในช่วง) เมื่อเราต้องการจะพูดถึงบางสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้ว เช่น Sentence Meaning My grandfather was killed during the war. ปู่กูม่องเท่งในช่วงสงคราม During the summer, she worked as a baby-sitter. หล่อนทำงานเป็นคนเลี้ยงเด็กในช่วงฤดูร้อน (หมายเหตุ) During เป็นได้แค่ Preposition ดังนั้นคำหรือวลีที่ตามหลัง During ต้องเป็นคำนามหรือสรรพนามเท่านั้น จะตามด้วย Clause ไม่ได้

                  2. เราใช้ For (เป็นระยะเวลา) เมื่อเราต้องการพูดถึงระยะเวลา (Period of Time) Sentence Meaning The season only lasts for some months. ฤดูนี้กินเวลาไม่กี่เดือนเอง I worked at the bank for five years. กูทำงานที่ธนาคารมาห้าปีแล้ว They study for two hours every day. พวกแม่งเรียนสองชั่วโมงทุกวัน (หมายเหตุ) ในกรณี For ที่กำลังกล่าวถึงนี้จะเป็น Preposition จะต้องตามด้วยคำนามหรือสรรพนามเท่านั้น แต่ถ้า For ตามด้วย Clause จะเป็น Coordinate Conjunction (ซึ่งไม่เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอบ) เช่น - I don’t even think of my ex-girlfriend, for I have a new sexy one.

                  3. เราใช้ Since (ตั้งแต่) เมื่อเราต้องการแสดงจุดเริ่มต้นของเวลา (Point of Time) เช่น Sentence Meaning He has been living in London since 1997. เขาอยู่ลอนดอนตั้งแต่ปี 1997 We've known about it since June. เรารู้เรื่องนั้นตั้งแต่เดือนมิถุนายนแล้ว He has worked as a carpenter since leaving school. เขาทำงานเป็นชั่งไม้ตั้งแต่ออกจากโรงเรียน He has worked as a carpenter since he left school. (Clause) เขาทำงานเป็นชั่งไม้ตั้งแต่เขาออกจากโรงเรียน (หมายเหตุ) Since เป็นได้ทั้ง Preposition และ Subordinate Conjunction (Subordinator) ดังนั้นสามารถใช้ คำนาม วลี อนุประโยค ตามหลังได้เลย

                 4. เราใช้ While (ขณะที่) เมื่อหมายถึงการกระทำที่แน่นอน เช่น Sentence Meaning While I was eating lunch, I read this book. ขณะที่ฉันกำลังกินข้าวกลางวัน ฉันอ่านหนังสือ Please, don't drink alcohol while driving. กรุณา อย่าดื่มเหล่าขณะขับรถ (หมายเหตุ) While เป็นได้ทั้ง Preposition และ Subordinate Conjunction (Subordinator) แต่เมื่อใดก็ตามที่ While เป็น Preposition จะต้องตามด้วย V. + ing (Gerund) เสมอ และ While มักจะใช้กับรูป Continuous Tense

                Conditional Sentence (If-Clause    การใช้ If มีทั้งหมด 4 แบบ แต่ให้จำประโยคสูตรไปใช้ได้เลย If he comes (V.1), I will go. If he came
                  (V.2), I would go. If he had come
                  (V.3), I would have gone. 

แบบที่ 1 If + Present Simple, Present Simple วิธีใช้ ใช้กับเหคุการณ์ที่เป็นความจริงเสมอ
 เช่น If + Present Simple, Present Simple Meaning If you heat water, it boils.
(ถ้าคุณต้มน้ำ น้ำก็เดือด)
If you get here before seven, we can catch the early train.
 (ถ้าคุณมาถึงที่นี่ก่อน 7 โมง เราก็สามารถขึ้นรถไฟไปได้เร็ว)
I can’t drink alcohol if I have to drive.
 (ฉันไม่สามารถดื่มแอลกอฮอล์ถ้าฉันต้องขับรถ)

 แบบที่ 2 If + Present Simple, Will + V1 วิธีใช้ ใช้กับเหคุการณ์ที่เป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน
เช่น If + Present Simple, Will + V.1 (Infinitive)
 Meaning If I have enough money, I will go to Japan.
 (ถ้าฉันมีเงิน ฉันจะไปญี่ปุ่น)
 If he is late, we will have to the meeting without him.
 (ถ้าเขามาสาย เราจะต้องเริ่มการประชุมโดยไม่มีเขา)
I won’t go outside if the weather is cold.
 (ฉันจะไม่ออกไปข้างนอกถ้าอากาศมันเย็น)
 If I have time, I will help you.
 (ถ้าฉันมีเวลา ฉันจะช่วยคุณ)
 If you eat too much, you will get fat
 (ถ้าคุณกินมากเกินไป คุณก็จะอ้วน)

 แบบที่ 3 If + Past Simple, would + V.1 (would แปลว่า น่าจะ) วิธีใช้ ใช้กับเหคุการณ์ที่ตรงข้ามความจริงในปัจจุบัน หรือ อนาคต
 เช่น If + Past Simple, would + V.1
 Meaning If I knew her name, I would tell you.
 (ถ้าฉันรู้ชื่อเธอ ฉันก็น่าจะบอกคุณ) [จริงๆ แล้วไม่รู้จักชื่อเธอ]
She would be safer if she had a car.
 (เธอน่าจะปลอดภัยกว่านี้ ถ้าเธอมีรถ) [จริงๆ แล้วเธอไม่มีรถ]
 It would be nice if you helped me do the housework.
 [มันน่าจะดีถ้าคุณได้ช่วยฉันทำงานบ้านบ้าง] [จริงๆ แล้วเธอไม่ช่วยเลย]
 If I were you, I would call her. (ถ้าฉันเป็นคุณ ฉันน่าจะโทรหาเธอ) [จริงๆ แล้ว ฉันไม่ได้เป็นคุณ]
 If I were you, I would not say that. (ถ้าฉันเป็นคุณ ฉันก็ไม่น่าจะพูดเช่นนั้น) [จริงๆ แล้ว ฉันไม่ได้เป็นคุณ]

 แบบที่ 4 If + Past perfect, would have + V.3 (Past perfect -> Had + V3) วิธีใช้ ใช้กับเหคุการณ์ที่ตรงข้ามความจริงในอดีต
 เช่น If + Past perfect, would have + V.3
 Meaning If you had worked harder, you would have passed your exam.
 (ถ้าคุณขยันให้มากกว่านี้ คุณก็น่าจะสอบผ่าน) [จริงๆ แล้วสอบตกไปแล้ว]
If you had asked me, I would have told you.
 (ถ้าคุณถามฉัน ฉันก็น่าจะบอกคุณไปแล้ว) [จริงๆ แล้วคุณไม่ได้ถาม]
 I would have been in big trouble if you had not helped me.
 (ฉันน่าจะมีปัญหาไปแล้ว ถ้าคุณไม่ได้ช่วยฉันไว้) [จริงๆ แล้วคุณช่วยฉันไว้]
If I had met you before, we would have been together. 
(ถ้าฉันพบคุณก่อนหน้านี้ เราก็น่าจะได้อยู่ด้วยกันไปแล้ว) [จริงๆ แล้วฉันพบคุณช้าไป

 Some vs. Any Some และ Any มีลักษณะในการใช้ดังนี้
                  1. ใช้ Some กับคำนามพหูพจน์หรือคำนามนับไม่ได้ เพื่อบอกปริมาณหรือจำนวนที่ไม่เฉพาะเจาะจง ในรูปประโยคบอกเล่า
 เช่น Some food is in the refrigerator. (non-count) Some grapes are in the refrigerator. (Plural) Is some food in the refrigerator? (non-count) Are some grapes in the refrigerator? (Plural) 

                  2. ใช้ Any กับคำนามพหูพจน์หรือคำนามนับไม่ได้เช่น วางหลังกริยารูปปฏิเสธ หรือวางหลังคำกริยาในรูปประโยคคำถาม โดยที่ Any ไม่สามารถขึ้นต้นประโยคได้
 เช่น There isn't any milk in the refrigerator. (non-count) There aren't any snacks in the refrigerator. (Plural) Are there any snacks in the refrigerator? (Plural) I do not have any tea. (non-count) 

                   3. ใช้ตามหลังคำที่มีความหมายเชิงปฏิเสธ (Negative Words)หรือ หลังคำกล่าวที่แสดงความสงสัย (Expression of doubt) และ คำวิเศษณ์บอกความถี่ในเชิงลบ (Negative Adverb)
 เช่น     Not one of shops has any tea.
            I doubt that there is any tea here.
            I don't think that any tea is left It's unlikely that any tea is left.
            He's uncertain that anything can be done.
            That shop seldom has any tea.
            I can hardly believe that any tea is left.
           That shop hardly ever has any tea.
           That shop rarely has any tea.
           That shop never has any tea.

 นอกจากนี้ any more
               
                 4. A “some” Vs. an “any” in offer and request เมื่อพูดถึงเรื่องการเสนอบางสิ่งบางอย่างแก่ใครบางคน บางกลุ่ม เราใช้ Some และ Any ต่างกัน ดังนี้

                4.1 ใช้ some เมื่อคิดว่าข้อเสนอนั้นมีความชัดเจน และใช้ any เมื่อคิดว่าข้อเสนอนั้นยังมีความคลุมเครืออยู่
 เช่น Confident Offer Doubtful Offer Would you like some coffee?
      - คุณจะรับกาแฟไหม (มีกาแฟที่ชงไว้อยู่แล้ว พร้อมเสิร์ฟได้เลย)
        Would you like any coffee?
     - คุณจะรับกาแฟไหม (ยังไม่มีกาแฟที่ชงไว้แล้วแต่สามารถทำให้ได้)
       Would you like some more coffee?
     - คุณจะรับกาแฟเพิ่มไหม (อาจจะดื่มไปแล้ว 1-2 ถ้วย แต่สามารถเพิ่มได้)
       Would you like any more coffee?
     - คุณจะรับกาแฟเพิ่มอีกไหม (มึงไม่ต้องสั่งแล้ว เพราะกูไม่มีให้มึงอีกแล้ว) 

               4.2. ใช้ some เมื่อ”ผู้พูด” คิดว่ามีสิ่งที่ต้องการแน่นอน และใช้ any เมื่อคิดว่าสิ่งที่ต้องการอาจจะไม่มี
 เช่น Confident Request Doubtful Request
         May I have some more sugar, please?
        (กูรู้ว่ามึงมีน้ำตาล มึงเอามันมาให้กูซะดีๆ)
         May I have any more sugar, please?
         (กูไม่รู้ว่ามึงมีน้ำตาลหรือเปล่า แต่กูจะลองขอดู)

               5. ข้อเสนอที่คุณปฏิเสธได้ (An offer you can refuse.) เมื่อใช้ some “ผู้พูด” หรือ “คนถาม” คิดว่า “ผู้ฟัง” หรือ “คนที่ถูกถาม” จะตอบว่า “Yes” แต่ เมื่อใช้ any “ผู้พูด” หรือ “คนถาม” คิดว่า “ผู้ฟัง” หรือ “คนที่ถูกถาม” จะตอบว่า “No”
 เช่น Accept this offer Decline this offer JANE: Would you like some pie? (มึงเอาแน่)
              ANNE: Yes, please. / No, thank you.
             (ผู้พูดสามารถถามย้ำได้ ในกรณีที่ผู้ฟังตอบ No.)
             JANE: Are you sure you wouldn't like some pie?
             ANNE: Yes, please. (or) No, thank you.
             JACK: Would you like any pie? (กูคิดว่ามึงไม่เอา)
            DAVE: No, thank you. / Perhaps, later. (แล้วมึงก็ไม่เอาจริงๆ)
            JACK: Are you sure you wouldn't like some pie? I have plenty. (มึงอาจเปลี่ยนใจ)
             DAVE: Well, on second thought. I would like a piece. Thank you.

                 6. Some / Any ในรูปของ สรรพนามไม่เฉพาะเจาะจง (Indefinite Pronouns) เราใช้ Some / Any+ Singular Noun เมื่อคำนามนั้นๆไม่เป็นที่รู้จักหรือไม่เฉพาะเจาะจง ซึ่งจะใช้เหมือนกับกฎในข้อ
 1-5 Some + Singular Noun
 Any + Singular Noun somebody, some thing,  anybody anything, some day, some time,   any day,   any time,  some more,   some way,  any more, any way,   someone, some where,  anyone, anywhere, (any place)

 * ระวัง! I don’t want any more. (ผมไม่เอาอะไรแล้วครับ)
 I don't go there anymore (ผมไม่ไปที่นั่นอีกแล้ว)

 7. การใช้ Some ในการบอก “จำนวนที่ไม่เจาะจง” (An unknown quantity) และ “คำนามที่ไม่เฉพาะเจาะจง” (An unknown noun) มีวิธีการใช้คือ Some + Plural Noun จะใช้บอกจำนวนที่ไม่ระบุไว้ หรือเราไม่สามารถรู้ว่ามีจำนวนเท่าไหร่นั่นเอง และ Some + Singular Noun จะใช้บอกคำนามที่ไม่ระบุตัวบุคคลหรือสิ่งของ An unknown quantity An unknown noun
              - Some people are knocking at the door.
               (ไม่รู้จำนวนคนที่เคาะประตู)
              - He is talking about some political causes
             . (ไม่รู้จำนวนสาเหตุที่แน่นอน แต่รู้ว่าสาเหตุ เกิดจากอะไร)
              - She is dating some guys
             . (ไม่รู้จำนวนผู้ชายที่ออกเดทแน่นอน)
                Some person is knocking at the door.
               (ไม่รู้ว่าใครเคาะประตู)
                He is talking about some political cause.
              (ไม่รู้สาเหตุว่าเกิดจากอะไร) She is dating some guy
.             (รู้ว่าผู้ชายคนนั้นคือใคร แต่ไม่อยากเอ่ยชื่อ)

 * จำไว้ด้วย เราต้องใช้ For some reason ไม่ใช่ For some reasons
 เช่น
Correct : For some reason, I lost the match.
 Incorrect : For some reasons, I lost the match.
 Extreme Adjectives Extreme Adjectives หรือ คำคุณศัพท์ที่เป็นที่สุด หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งคือเป็นคำ คุณศัพท์ที่อยู่ในรูป very + normal adjective
 เช่น Normal Adjectives Extreme Adjective
               Meaning Example pretty gorgeous
              สวย/งดงาม
               She's very pretty. = She is gorgeous.
               funny hilarious สนุกสนาน
               It's very funny. = It is hilarious.
               tasty delicious อร่อย This food is very tasty. = This food is delicious.
               old ancient เก่า/แก่ This book is very old. = This book is ancient.
               good fantastic ดี It's a very good trip. = That goal is fantastic.
               tired exhausted เหนื่อย I'm very tired. = I'm exhausted.
              angry furious โกรธ I'm very angry right now. = I'm furious right now.
               bad awful เลว It's very bad. = It's awful.
               big huge ใหญ่ This city is very big. = This city is huge.
               small tiny เล็ก It's very small. = It's tiny.
               cold freezing เย็น It’s very cold. = It’s freezing.


หาเพื่อนคุยภาษาอังกฤษอยู่ใช่ไหม มาเป็นเพื่อนกันสิ

ติดต่อผู้เขียนบทความ : Line = gowithe
                                    : Fanpage = https://www.facebook.com/englishspeaking.th/
                                    : Tel. = 094-516-9165

เรียนออนไลน์ตัวต่อตัวผ่านเฟซบุ๊ควีดีโอคอล
เรียนพูดภาษาอังกฤษวันละ 30 นาที


http://clicktoknows.blogspot.com/2014/08/blog-post_60.html